วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2563

ยุค 5G/6G , Iot , AI

5G คืออะไรทำอะไรได้บ้าchibi batman Más | Batman caricatura, Batman animado, Batman dibujo

             5G คือเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในยุคต่อมาจาก 4G ที่มีความเร็ว 
     ส่งข้อมูลสูงกว่า 4G ถึง 20 เท่าโดยประมาณ (4G = มีความเร็วสูงสุดที่ประมาณ 1Gbps ส่วน 5G อยู่ที่ประมาณ 20Gbps) รองรับการเชื่อมต่อทุกสรรพสิ่ง หรือ IoT (Internet of Things) นั่นเอง และยังเพิ่มความหนาแน่นต่อพื้นที่ให้มากขึ้นด้วย หรืออยู่ที่ราวๆ 1 ล้านอุปกรณ์ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร จากเดิมที่อยู่ที่ 1 แสนอุปกรณ์เท่านั้นรวมถึงความเร็วในการตอบสนอง (Response Time) ที่จากเดิม 4G มีความเร็วอยู่ที่ 40msใน 5G จะเหลือเพียง 1ms เท่านั้น  ใน 5G จะเหลือเพียง 1ms เท่านั้น 

6คืออะไร ?

ก่อนที่คุณจะไปทำความเข้าใจกับความเร็วในระดับ 6g นั้น มาทำความรู้จักกับความสำคัญของระบบ 5g กันก่อนดีกว่า ซึ่งต้องบอกก่อนว่าระบบ 5g นั้น มีการพัฒนามาอย่างก้าวกระโดดมากกว่า มาตรฐานของ 4G ที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันนี้เป็นอย่างมาก ความเร็วนั้นของ 5g นั้นเหนือกว่าความเร็วของ 4G เรียกได้ว่าไม่อาจเทียบกันได้เลย โดยความเร็วของ 5g นั้นจะมีความเร็วประมาณ 220Gbps  ซึ่งถ้าเทียบกับ 4G แล้วจะมีความเร็วมากกว่า 100 – 200 เท่า เท่านั้นยังไม่พอความน่าสนใจของ 5g อีกประการหนึ่ง ก็คือ LOW LATENCY RATE  ซึ่งก็คือความเร็วในการตอบสนองต่อข้อมูล ทำให้ผู้ใช้งานสั่งงานพร้อมทั้งควบคุมสิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วฉับไวหรือเรียกได้ว่าแทบจะทันทีทันใดนั้นเดี๋ยวนั้น


ลงทุนแมน] 6G เทคโนโลยีที่จีนกำลังเริ่มพัฒนา

Io ย่อมากจาก Internet Of Things

internet of things คือ แนวความคิดหรือหลักการดังกล่าวนั่นเอง เป็นสิ่งที่เรียกว่า Machine to Machine หรือ M2M นั่นคือ การทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 2 ชิ้นหรือมากกว่าสามารถพูดคุยสื่อสารกันได้ โดยอาศัยอินเตอร์เน็ตเป็นตัวเชื่อม เพราะอุปกรณ์ smart device ในปัจจุบันมักถูกสร้างมาพร้อมเซ็นเซอร์ตรวจจับที่ฝั่งอยู่ภายใน ซึ่งเซ็นเซอร์ดังกล่าวนั้น จะสามารถตรวจจับแสง อุณหภูมิ ความสั่นสะเทือนได้ จึงทำให้ผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ มองเห็นว่าเซ็นเซอร์เหล่านี้สามารถนำมาใส่ไว้ในอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ทุกชิ้น จากนั้นก็ใช้อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเข้ามาเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อ ทำให้อุปกรณ์ต่าง ๆ เกิดการประมวลผลข้อมูลร่วมกัน ถ่ายโอนข้อมูลกันไปมาระหว่างกัน จนสามารถอำนวนความสะดวกให้กับเราได้มาก

IOT Internet of Things

ปัญญาประดิษฐ์  (AI : Artificial Intelligence)  คือ

เครื่องจักร(machine) ที่มีฟังก์ชันทีมีความสามารถในการทำความเข้าใจ เรียนรู้องค์ความรู้ต่างๆ อาทิเช่น การรับรู้  การเรียนรู้ การให้เหตุผล และการแก้ปัญหาต่างๆ  เครื่องจักรที่มีความสามารถเหล่านี้ก็ถือว่าเป็น ปัญญาประดิษฐ์  (AI : Artificial Intelligence) นั่นเอง

เพราะฉะนั้นจึงสามารถกล่าวได้ว่า AI ถือกำเนิดขึ้นเมื่อเครื่องจักรมีความสามารถที่จะเรียนรู้นั่นเอง  ซึ่ง AI ก็ถูกแบ่งออกเป็นหลายระดับตามความสามารถหรือความฉลาด  โดยจะวัดจากความสามารถในการ ให้เหตุผล การพูด และทัศนคติของ AI ตัวนั้นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับมนุษย์อย่างเราๆ

    หากวันนั้นทีแอนดรอย์กลายเป็นคนจริงๆ - Pantip


                     


วิทยาการข้อมูล(data science)

                                            

                            

                                วิทยาการข้อมูล(data science)

                   "นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล" หรือ "Data Scientists" กันมาบ้าง โดยเฉพาะเว็บไซต์หรือสื่อหลายแห่งทั้งไทยและต่างประเทศ ที่เปิดประเด็นว่าเป็นอาชีพสุดฮ็อตที่ทุกองค์กรต้องการตัว อีกทั้งอาชีพนี้ยังได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในสาขาอาชีพที่มาแรงที่สุดแห่งยุค และเป็นอาชีพที่เซ็กซี่ที่สุดในศตวรรษที่ 21 จากผลการสำรวจและวิเคราะห์ของหลายสำนัก



      1 วิทยาการข้อมูล หรือ Data Science คือ?
                ศาสตร์ที่เกี่ยวกับการจัดการ จัดเก็บ รวบรวม ตรวจสอบ วิเคราะห์ วิจัย และนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่ความรู้ที่สามารถนำไปใช้งานได้จริง (Actionable knowledge) อย่างเช่น การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ กระบวนการดำเนินงาน ประกอบการตัดสินใจทางธุรกิจ การวางแผนการตลาด และทิศทางขององค์กรในอนาคต
         2 ผลลัพธ์ที่ได้จาก Data Science?
              - ค้นพบสิ่งที่ไม่เคยรู้มาก่อนจากข้อมูลที่ได้
                    - ได้ Predictive Model เพื่อนำไปปฏิบัติจริง
                    - สร้าง Data Product ใหม่ๆ ที่จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจ
                    - ช่วยให้ฝ่ายธุรกิจมีความมั่นใจและสามารถตัดสินใจได้ดีขึ้น
      3 ที่มาของตำแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist)?
                 ตำแหน่งงาน Data Scientist ถูกตั้งขึ้นโดย  DJ Patil และ Jeff Hammerbacher ในปี 2008 โดยทั้งคู่เป็น ผู้บุกเบิกการสร้างทีม Data Science ที่ LinkedIn และ Facebook และตอนนี้ DJ Patil ได้รับแต่งตั้งให้เป็น Chief Data Scientist of the United States ไปเรียบร้อ
        4 ทักษะที่ นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) ต้องมี?
                นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล ต้องมี ทักษะความรู้แบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือมีองค์ความรู้ในหลากหลายด้าน เช่น ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์และสถิติ การวิเคราะห์ข้อมูล ความเข้าใจทางธุรกิจ ความอยากรู้อยากเห็น ความคิดสร้างสรรค์ และความรู้เฉพาะสาขา

                                                                                   


big data

  Big Data คืออะไร ? 

Big Data Marketing Activation ถอดรหัสอิโมจิหัวใจแต่ละสี  มาดูกันว่าแต่ละดวงมีความหมายที่แท้จริงแตกต่างกันอย่างไร

วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพด้วย Buzzebees Z-Through ♡ ชุดอิโมติคอนหัวใจน่ารัก ♡ ทุกวัน ♡ - อิโมจิไลน์ - Linesticker  

การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคจำเป็นอย่างมากในการทำธุรกิจบนโลกออนไลน์

เพราะปัจจุบัน Big Data Marketing คือกุญแจสำคัญแห่งความสำเร็จของธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม เพราะข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้องค์กรเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย นำเสนอสินค้าและบริการเพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่แตกต่างกัน และเพิ่มยอดขายได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นBuzzebees จึงพัฒนาระบบประมวลผลข้อมูลในรูปแบบระบบ Big Data เพื่อให้องค์กรธุรกิจเข้าถึงพฤติกรรมผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยฐานข้อมูลของลูกค้าที่เรามีอยู่ในระบบมากกว่า75 ล้านราย              

Big Data คืออะไร? | ทำไมต้อง Big Data? | Aware Group

Buzzebees Z-Through

Buzzebees Z-Through เป็นโปรแกรม Big Data CRM ที่ประมวลผลอย่างชาญฉลาดและวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคได้อย่างละเอียดและแม่นยำ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของความสนใจในตัวสินค้า เวลาที่ใช้ในการเลือกดูสินค้าที่สามารถแยกแยะได้ว่าผู้บริโภคสนใจหรือไม่สนใจในสินค้าประเภทใด ทำให้องค์กรธุรกิจเข้าใจความต้องการของผู้บริโภคมากขึ้น และใช้เป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด และรูปแบบแคมเปญ CRM เพื่อเพิ่มยอดขาย และยอด Engagement ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด  

วิธีการจัดการ Big Data อย่างมีประสิทธิภาพ

ประวัติความเป็นมาของข้อมูลขนาดใหญ่

คำว่า "ข้อมูลขนาดใหญ่" หมายถึงข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ เร็ว หรือซับซ้อนจนยากหรือเป็นไปไม่ได้ที่จะประมวลผลโดยใช้วิธีการแบบเดิม การเข้าถึงและจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากเพื่อทำการวิเคราะห์มีมานานแล้ว แต่แนวคิดเกี่ยวกับข้อมูลขนาดใหญ่เป็นที่แพร่หลายในช่วงต้นปีค.ศ. 2000 เมื่อดั๊ก ลานีย์ นักวิเคราะห์อุตสาหกรรมได้ให้คำจำกัดความที่เป็นที่เข้าใจกันในขณะนี้ว่า ข้อมูลขนาดใหญ่ประกอบด้วย3Vs:

Volume (ปริมาณ) : องค์กรต่างๆ รวบรวมข้อมูลจากหลากหลายแหล่ง ซึ่งรวมถึงธุรกรรมของธุรกิจ อุปกรณ์อัจฉริยะ (IoT) อุปกรณ์อุตสาหกรรม วิดีโอ โซเชียลมีเดีย และอื่นๆ ในอดีต การจัดเก็บข้อมูลถือเป็นปัญหาใหญ่ – แต่เมื่อค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บบนแพลตฟอร์มต่างๆ เช่น พื้นที่จัดเก็บข้อมูลส่วนกลาง (Data Lake) และ Hadoop ลดลง ภาระนี้จึงบรรเทาลง

Velocity (ความเร็ว) : ด้วยการเติบโตของ Internet of Things ข้อมูลจะถูกส่งไปยังธุรกิจต่างๆ ด้วยความเร็วที่ไม่เคยมีมาก่อนและต้องได้รับการจัดการในเวลาที่เหมาะสม แท็ก RFID, เซ็นเซอร์ และสมาร์ทมิเตอร์ช่วยผลักดันความต้องการในการจัดการกับกระแสข้อมูลเหล่านี้ในแบบเรียลไทม์

Variety (ความหลากหลาย) : ข้อมูลมีในทุกรูปแบบ นับตั้งแต่ข้อมูลที่มีโครงสร้าง ตัวเลขในฐานข้อมูลแบบดั้งเดิม ไปจนถึงเอกสารข้อความ อีเมล วิดีโอ เสียง ข้อมูลหุ้น และธุรกรรมทางการเงิน



ฟร์อมของสุธิมา บัวเทพ

กำลังโหลด…